วันศุกร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554

ตอนที่ 1/1

ตอนที่ 1
แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้
เศรษฐศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
1.            แนวทางการใช้สื่อการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
2.            ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหาฯ เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5
3.            โครงสร้างสาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5
4.            ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5
5.            แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5
6.            กำหนดการจัดการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5

แนวทางการใช้สื่อการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ดึงมาจากคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.6 หน้า 2-3
โครงสร้างสาระการเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

บทที่  1  การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต
1.  ทรัพยากร
       ความหมายของทรัพยากร
2.  การวางแผนการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต
3.  ปัญหาเศรษฐกิจกับการบริหารจัดการทรัพยากร
4.  คุณธรรมในการผลิต
5.  ประโยชน์ของการบริหารจัดการทรัพยากร
6.  หลักการบริหารจัดการทรัพยากร
       - การจัดสรรทรัพยากร
       - ความล้มเหลวของกลไกตลาด
       - กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากร
บทที่ 2  ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
1. การค้าระหว่างประเทศ
      - ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ
      - สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ
      - ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
      - นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
      - ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจไทยกับเศรษฐกิจโลก
2.  การเงินและการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ
      - การเงินระหว่างประเทศ
      - ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
      - ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
      - การค้าต่างประเทศและดุลการชำระเงิน
3.  การลงทุนระหว่างประเทศ
      - การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง
      - การลงทุนระหว่างประเทศทางอ้อม
บทที่ 3 การเงิน การธนาคาร และการคลัง
1. การเงินและการธนาคาร
      1) การเงิน
           - ความหมายของเงิน
           - บทบาทหน้าที่ของเงิน
           - ปริมาณเงินและการหมุนเวียนของเงิน
       2) สถาบันการเงิน
           - ความหมายของสถาบันการเงิน
        3) สถาบันการเงินที่ไม่ได้ประกอบกิจการธนาคาร
-                   บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
-                   บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน
-                   บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย
-                   บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย
-                   บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม
-                   บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
-                   บริษัทเครดิตฟองซิเอร์
-                   สหกรณ์ออมทรัพย์
-                   บริษัทประกันภัย
-     โรงรับจำนำ
          4) การคลัง
                 -  ความหมายของการคลัง
           - ความสำคัญของการคลัง
         5) งบประมาณแผ่นดิน
                -  ความหมายของงบประมาณแผ่นดิน
                - ความสำคัญของงบประมาณแผ่นดิน
               - ประเภทของงบประมาณแผ่นดิน
               - การจัดทำงบประมาณแผ่นดิน
         6) หนี้สาธารณะ
               - ความหมายของหนี้สาธารณะ
               - ความสำคัญของหนี้สาธารณะ
               - วัตถุประสงค์ในการก่อหนี้ของรัฐบาล
               - วิธีการก่อหนี้ของรัฐบาล
               - แหล่งเงินกู้ของรัฐบาล
               - ประเภทของหนี้สาธารณะ
               - ภาระหนี้ของรัฐบาล
               - ผลกระทบทางเศรษฐกิจของหนี้สาธารณะ
               - การก่อหนี้ของประเทศไทย
         7) นโยบายการคลัง
                 - ความหมายของนโยบายการคลัง
                 - ความสำคัญของนโยบายการคลัง
                 - ประเภทของนโยบายการคลัง
                 - นโยบายการคลังของประเทศไทย
                 - เครื่องมือของนโยบายการคลัง
บทที่ 4 องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
            1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
                - ความหมายและความสำคัญ
                - เป้าหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
                - ปัจจัยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
                - ลักษณะของกลุ่มประเทศทางเศรษฐกิจ
         2. ผลของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
                - ความขัดแย้ง
                - การประสานประโยชน์
                - การพึ่งพากัน
                - การแข่งขันกัน
                - คุณธรรมและการรู้เท่าทัน
         3. องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
               - การร่วมมือทางเศรษฐกิจทั่วไป
               - การร่วมมือทางเศรษฐกิจภูมิภาค
               - สหภาพยุโรป
               - กลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันเป็นสินค้าออก
               - สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
               - องค์การการค้าโลก
          - ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
บทที่ 5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
            1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                   - ความหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                   - ความสำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                   - ประโยชน์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
            2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในอดีต
                  - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-8
            3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยปัจจุบัน
                  - การปรับเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนา
                  - หลักการจัดทำแผนพัฒนาประเทศตามแนวคิดใหม่
                 - การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาประเทศ
                 - สาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9
                 - วิสัยทัศน์ร่วมของคนไทย
                 - วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของการพัฒนาประเทศ
                 - ความเร่งด่วนของการพัฒนาประเทศ
                 - ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของไทย
          4. นโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลปัจจุบัน
                 - นโยบายเศรษฐกิจรากหญ้าและหลักประกันสังคม
                 - นโยบายอื่น ๆ ของรัฐบาลปัจจุบัน
          5. แผนพัฒนาประเทศในอนาคต
                 - การเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาประเทศ
                 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

 ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
บทที่ 1 : การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต
การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต ทรัพยากร การวางแผนการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต ปัญหาเศรษฐกิจกับการบริหารจัดการทรัพยากร คุณธรรมในการผลิต ประโยชน์ของการบริหารจัดการทรัพยากร หลักการบริหารจัดการทรัพยากร

บทที่ 2 : ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
            การค้าระหว่างประเทศ การเงินและการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ
 บทที่ 3 : การเงิน การธนาคาร และการคลัง
             การเงินและการธนาคาร การคลัง งบประมาณแผ่นดิน หนี้สาธารณะ นโยบายการคลัง
บทที่ 4 : องค์กรร่วมมือทางเศรษฐกิจ
            การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ผลของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
บทที่ 5 : แผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
            แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในอดีต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในปัจจุบัน นโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลปัจจุบัน แผนพัฒนาประเทศในอนาคต

  แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
   คำอธิบายสาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
            ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้
        การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต เกี่ยวกับ ทรัพยากร เรื่อง ความหมายของทรัพยากร การวางแผนการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต ปัญหาเศรษฐกิจกับการบริหารจัดการทรัพยากร คุณธรรมในการผลิต ประโยชน์ของการบริหารจัดการทรัพยากร หลักการบริหารจัดการทรัพยากร การจัดสรรทรัพยากร ความล้มเหลวของกลไกตลาด กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากร
       ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ เกี่ยวกับ การค้าระหว่างประเทศ เรื่อง ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการค้าระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจไทยกับเศรษฐกิจโลก การเงินและการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ การเงินระหว่างประเทศ ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยน การค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงิน การลงทุนระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง การลงทุนระหว่างประเทศทางอ้อม
       การเงิน การธนาคาร และการคลัง เกี่ยวกับ การเงินและการธนาคาร เรื่อง การเงิน ความหมายของเงิน บทบาทหน้าที่ของเงิน ปริมาณเงินและการหมุนเวียนของเงิน สถาบันการเงิน ความหมายของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินที่ไม่ได้ประกอบกิจการธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย บรรษัทสินทรัพย์ไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม บรรษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ สหกรณ์ออมทรัพย์ บริษัทประกันภัย โรงรับจำนำ การคลัง ความหมายของการคลัง ความสำคัญของการคลัง งบประมาณแผ่นดิน ความหมายของงบประมาณแผ่นดิน ความสำคัญของงบประมาณแผ่นดิน ประเภทของงบประมาณแผ่นดิน การจัดทำงบประมาณแผ่นดิน หนี้สาธารณะ ความหมายของหนี้สาธารณะ ความสำคัญของหนี้สาธารณะ วัตถุประสงค์ในการก่อหนี้ของรัฐบาล วิธีการก่อหนี้ของรัฐบาล แหล่งเงินกู้ของรัฐบาล  ประเภทของหนี้สาธารณะ ภาระหนี้ของรัฐบาล ผลกระทบทางเศรษฐกิจของหนี้สาธารณะ การก่อหนี้ของประเทศไทย นโยบายการคลัง ความหมายของนโยบายการคลัง ความสำคัญของนโยบายการคลัง ประเภทของนโยบายการคลัง นโยบายการคลังของประเทศไทย เครื่องมือของนโยบายการคลัง
      องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เกี่ยวกับ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เรื่อง ความหมายและความสำคัญ เป้าหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ปัจจัยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ลักษณะของกลุ่มประเทศทางเศรษฐกิจ  ผลของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ความขัดแย้ง การประสานประโยชน์ การพึ่งพากัน การแข่งขันกัน คุณธรรมและการรู้เท่าทัน องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การร่วมมือทางเศรษฐกิจทั่วไป การร่วมมือทางเศรษฐกิจภูมิภาค สหภาพยุโรป กลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันเป็นสินค้าออก สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ องค์การการค้าโลก ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
       แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เรื่อง ความหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ความสำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประโยชน์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในอดีต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-8 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในปัจจุบัน การปรับเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนา หลักการจัดทำแผนพัฒนาประเทศตามแนวคิดใหม่ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาประเทศ สาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 วิสัยทัศน์ของคนไทย วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของการพัฒนาประเทศ ความเร่งด่วนของการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของไทย นโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลปัจจุบัน นโยบายเศรษฐกิจรากหญ้าและหลักประกันสังคม นโยบายอื่น ๆ ของรัฐบาลปัจจุบัน แผนพัฒนาประเทศในอนาคต การเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาประเทศ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

ผลการเรียนรู้สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
       มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิตและปัญหาที่เกิดจากการจัดการทรัพยากรที่ไม่มีประสิทธิภาพ มีความรู้ความเข้าใจวัตถุประสงค์ ผลประโยชน์เกี่ยวกับการค้า การเงินและการลงทุนระหว่างประเทศ มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญเกี่ยวกับการเงินการธนาคาร และการคลัง มีความรู้ความเข้าใจประวัติความเป็นมา จุดมุ่งหมาย การดำเนินงานขององค์การระหว่างประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก และเข้าใจถึงบทบาทของประเทศไทยที่มีต่อองค์การต่าง ๆ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และในอนาคต
                   
แผนการจัดการเรียนรู้  เศรษฐศาสตร์ ม.5                                                         เวลา 40 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
เรื่อง
เวลา / ชั่วโมง
-
1
2
3
4
5
  แผนการจัดการเรียนรู้ปฐมนิเทศ
  การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต
  ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
  การเงิน การธนาคาร และการคลัง
  องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

2
4
8
14
8
4

ตอนที่ 1/1

ตอนที่ 1
แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้
เศรษฐศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
1.            แนวทางการใช้สื่อการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
2.            ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหาฯ เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5
3.            โครงสร้างสาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5
4.            ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5
5.            แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5
6.            กำหนดการจัดการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้น ม.5

แนวทางการใช้สื่อการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ดึงมาจากคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.6 หน้า 2-3
โครงสร้างสาระการเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

บทที่  1  การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต
1.  ทรัพยากร
       ความหมายของทรัพยากร
2.  การวางแผนการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต
3.  ปัญหาเศรษฐกิจกับการบริหารจัดการทรัพยากร
4.  คุณธรรมในการผลิต
5.  ประโยชน์ของการบริหารจัดการทรัพยากร
6.  หลักการบริหารจัดการทรัพยากร
       - การจัดสรรทรัพยากร
       - ความล้มเหลวของกลไกตลาด
       - กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากร
บทที่ 2  ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
1. การค้าระหว่างประเทศ
      - ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ
      - สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ
      - ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
      - นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
      - ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจไทยกับเศรษฐกิจโลก
2.  การเงินและการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ
      - การเงินระหว่างประเทศ
      - ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
      - ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
      - การค้าต่างประเทศและดุลการชำระเงิน
3.  การลงทุนระหว่างประเทศ
      - การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง
      - การลงทุนระหว่างประเทศทางอ้อม
บทที่ 3 การเงิน การธนาคาร และการคลัง
1. การเงินและการธนาคาร
      1) การเงิน
           - ความหมายของเงิน
           - บทบาทหน้าที่ของเงิน
           - ปริมาณเงินและการหมุนเวียนของเงิน
       2) สถาบันการเงิน
           - ความหมายของสถาบันการเงิน
        3) สถาบันการเงินที่ไม่ได้ประกอบกิจการธนาคาร
-                   บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
-                   บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน
-                   บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย
-                   บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย
-                   บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม
-                   บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
-                   บริษัทเครดิตฟองซิเอร์
-                   สหกรณ์ออมทรัพย์
-                   บริษัทประกันภัย
-     โรงรับจำนำ
          4) การคลัง
                 -  ความหมายของการคลัง
           - ความสำคัญของการคลัง
         5) งบประมาณแผ่นดิน
                -  ความหมายของงบประมาณแผ่นดิน
                - ความสำคัญของงบประมาณแผ่นดิน
               - ประเภทของงบประมาณแผ่นดิน
               - การจัดทำงบประมาณแผ่นดิน
         6) หนี้สาธารณะ
               - ความหมายของหนี้สาธารณะ
               - ความสำคัญของหนี้สาธารณะ
               - วัตถุประสงค์ในการก่อหนี้ของรัฐบาล
               - วิธีการก่อหนี้ของรัฐบาล
               - แหล่งเงินกู้ของรัฐบาล
               - ประเภทของหนี้สาธารณะ
               - ภาระหนี้ของรัฐบาล
               - ผลกระทบทางเศรษฐกิจของหนี้สาธารณะ
               - การก่อหนี้ของประเทศไทย
         7) นโยบายการคลัง
                 - ความหมายของนโยบายการคลัง
                 - ความสำคัญของนโยบายการคลัง
                 - ประเภทของนโยบายการคลัง
                 - นโยบายการคลังของประเทศไทย
                 - เครื่องมือของนโยบายการคลัง
บทที่ 4 องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
            1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
                - ความหมายและความสำคัญ
                - เป้าหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
                - ปัจจัยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
                - ลักษณะของกลุ่มประเทศทางเศรษฐกิจ
         2. ผลของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
                - ความขัดแย้ง
                - การประสานประโยชน์
                - การพึ่งพากัน
                - การแข่งขันกัน
                - คุณธรรมและการรู้เท่าทัน
         3. องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
               - การร่วมมือทางเศรษฐกิจทั่วไป
               - การร่วมมือทางเศรษฐกิจภูมิภาค
               - สหภาพยุโรป
               - กลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันเป็นสินค้าออก
               - สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
               - องค์การการค้าโลก
          - ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
บทที่ 5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
            1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                   - ความหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                   - ความสำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                   - ประโยชน์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
            2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในอดีต
                  - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-8
            3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยปัจจุบัน
                  - การปรับเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนา
                  - หลักการจัดทำแผนพัฒนาประเทศตามแนวคิดใหม่
                 - การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาประเทศ
                 - สาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9
                 - วิสัยทัศน์ร่วมของคนไทย
                 - วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของการพัฒนาประเทศ
                 - ความเร่งด่วนของการพัฒนาประเทศ
                 - ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของไทย
          4. นโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลปัจจุบัน
                 - นโยบายเศรษฐกิจรากหญ้าและหลักประกันสังคม
                 - นโยบายอื่น ๆ ของรัฐบาลปัจจุบัน
          5. แผนพัฒนาประเทศในอนาคต
                 - การเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาประเทศ
                 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

 ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
บทที่ 1 : การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต
การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต ทรัพยากร การวางแผนการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต ปัญหาเศรษฐกิจกับการบริหารจัดการทรัพยากร คุณธรรมในการผลิต ประโยชน์ของการบริหารจัดการทรัพยากร หลักการบริหารจัดการทรัพยากร

บทที่ 2 : ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
            การค้าระหว่างประเทศ การเงินและการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ
 บทที่ 3 : การเงิน การธนาคาร และการคลัง
             การเงินและการธนาคาร การคลัง งบประมาณแผ่นดิน หนี้สาธารณะ นโยบายการคลัง
บทที่ 4 : องค์กรร่วมมือทางเศรษฐกิจ
            การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ผลของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
บทที่ 5 : แผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
            แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในอดีต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในปัจจุบัน นโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลปัจจุบัน แผนพัฒนาประเทศในอนาคต

  แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
   คำอธิบายสาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
            ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้
        การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต เกี่ยวกับ ทรัพยากร เรื่อง ความหมายของทรัพยากร การวางแผนการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต ปัญหาเศรษฐกิจกับการบริหารจัดการทรัพยากร คุณธรรมในการผลิต ประโยชน์ของการบริหารจัดการทรัพยากร หลักการบริหารจัดการทรัพยากร การจัดสรรทรัพยากร ความล้มเหลวของกลไกตลาด กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากร
       ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ เกี่ยวกับ การค้าระหว่างประเทศ เรื่อง ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการค้าระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจไทยกับเศรษฐกิจโลก การเงินและการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ การเงินระหว่างประเทศ ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยน การค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงิน การลงทุนระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง การลงทุนระหว่างประเทศทางอ้อม
       การเงิน การธนาคาร และการคลัง เกี่ยวกับ การเงินและการธนาคาร เรื่อง การเงิน ความหมายของเงิน บทบาทหน้าที่ของเงิน ปริมาณเงินและการหมุนเวียนของเงิน สถาบันการเงิน ความหมายของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินที่ไม่ได้ประกอบกิจการธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย บรรษัทสินทรัพย์ไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม บรรษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ สหกรณ์ออมทรัพย์ บริษัทประกันภัย โรงรับจำนำ การคลัง ความหมายของการคลัง ความสำคัญของการคลัง งบประมาณแผ่นดิน ความหมายของงบประมาณแผ่นดิน ความสำคัญของงบประมาณแผ่นดิน ประเภทของงบประมาณแผ่นดิน การจัดทำงบประมาณแผ่นดิน หนี้สาธารณะ ความหมายของหนี้สาธารณะ ความสำคัญของหนี้สาธารณะ วัตถุประสงค์ในการก่อหนี้ของรัฐบาล วิธีการก่อหนี้ของรัฐบาล แหล่งเงินกู้ของรัฐบาล  ประเภทของหนี้สาธารณะ ภาระหนี้ของรัฐบาล ผลกระทบทางเศรษฐกิจของหนี้สาธารณะ การก่อหนี้ของประเทศไทย นโยบายการคลัง ความหมายของนโยบายการคลัง ความสำคัญของนโยบายการคลัง ประเภทของนโยบายการคลัง นโยบายการคลังของประเทศไทย เครื่องมือของนโยบายการคลัง
      องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เกี่ยวกับ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เรื่อง ความหมายและความสำคัญ เป้าหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ปัจจัยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ลักษณะของกลุ่มประเทศทางเศรษฐกิจ  ผลของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ความขัดแย้ง การประสานประโยชน์ การพึ่งพากัน การแข่งขันกัน คุณธรรมและการรู้เท่าทัน องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การร่วมมือทางเศรษฐกิจทั่วไป การร่วมมือทางเศรษฐกิจภูมิภาค สหภาพยุโรป กลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันเป็นสินค้าออก สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ องค์การการค้าโลก ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
       แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เรื่อง ความหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ความสำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประโยชน์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในอดีต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-8 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยในปัจจุบัน การปรับเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนา หลักการจัดทำแผนพัฒนาประเทศตามแนวคิดใหม่ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาประเทศ สาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 วิสัยทัศน์ของคนไทย วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของการพัฒนาประเทศ ความเร่งด่วนของการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของไทย นโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลปัจจุบัน นโยบายเศรษฐกิจรากหญ้าและหลักประกันสังคม นโยบายอื่น ๆ ของรัฐบาลปัจจุบัน แผนพัฒนาประเทศในอนาคต การเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาประเทศ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

ผลการเรียนรู้สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
       มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิตและปัญหาที่เกิดจากการจัดการทรัพยากรที่ไม่มีประสิทธิภาพ มีความรู้ความเข้าใจวัตถุประสงค์ ผลประโยชน์เกี่ยวกับการค้า การเงินและการลงทุนระหว่างประเทศ มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญเกี่ยวกับการเงินการธนาคาร และการคลัง มีความรู้ความเข้าใจประวัติความเป็นมา จุดมุ่งหมาย การดำเนินงานขององค์การระหว่างประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก และเข้าใจถึงบทบาทของประเทศไทยที่มีต่อองค์การต่าง ๆ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และในอนาคต
                   
แผนการจัดการเรียนรู้  เศรษฐศาสตร์ ม.5                                                         เวลา 40 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
เรื่อง
เวลา / ชั่วโมง
-
1
2
3
4
5
  แผนการจัดการเรียนรู้ปฐมนิเทศ
  การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต
  ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
  การเงิน การธนาคาร และการคลัง
  องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

2
4
8
14
8
4

เศรษฐศาสตร์


เศรษฐศาสตร์ 


วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553

กฎอุปสงค์ (Law of Demand) และกฎอุปทาน (Law of Supply

กฎอุปสงค์ (Law of Demand) และกฎอุปทาน (Law of Supply) เป็นหลักการที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อหรือขาย โดยกฎอุปสงค์ระบุว่า ปริมาณความต้องการซื้อสินค้า หรือเรียกว่าปริมาณอุปสงค์ (quantity demanded) มีความสัมพันธ์ในทางลบกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือ เมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะต้องการซื้อสินค้านั้นน้อยลง กฎอุปทานระบุว่า ปริมาณสินค้าที่ต้องการขาย หรือปริมาณอุปทาน (quantity supplied) มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือเมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ผู้ขายมีแนวโน้มที่จะต้องการขายสินค้ามากขึ้น

กฎอุปสงค์และอุปทาน มักนำเสนอออกมาในรูปแบบของแผนภูมิเส้น โดยให้แกนตั้งเป็นราคา และแกนนอนเป็นปริมาณสินค้า เส้นอุปสงค์มักเขียนออกมาเป็นเส้นลาดลง และเส้นอุปทานเป็นเส้นชันขึ้น แม้ว่าโดยทั่วไปเส้นกราฟอุปทานจะมีลักษณะชันขึ้น อย่างไรก็ตาม มีบางกรณีที่เส้นกราฟอุปทานไม่เป็นไปตามลักษณะดังกล่าว ตัวอย่างของข้อยกเว้นนี้ได้แก่ เส้นกราฟอุปทานของแรงงานที่มีลักษณะของการโน้มกลับ กล่าวคือ เมื่ออัตราค่าแรงเพิ่มขึ้น คนงานคนหนึ่งก็พร้อมจะทำงานเป็นจำนวนชั่วโมงที่มากขึ้น แต่เมื่ออัตราค่าแรงขึ้นถึงจุดที่สูงมากๆ คนงานอาจพบกับเลือกทำงานน้อยลงและใช้เวลาว่างมากขึ้น[4] การวกกลับของเส้นกราฟอุปทานยังปรากฏในตลาดอื่นด้วย เช่นในตลาดน้ำมัน ประเทศที่ส่งออกน้ำมันหลายประเทศลดการผลิตน้ำมันหลังจากราคาพุ่งสูงขึ้นในวิกฤตการณ์น้ำมันปีพ.ศ. 2520


โมเดลของอุปสงค์และอุปทาน อธิบายว่า ตลาดมีแนวโน้มที่จะเข้าสู่ดุลยภาพ (equilibrium) ซึ่งปริมาณอุปสงค์และปริมาณอุปทานจะเท่ากัน เรียกราคาที่ภาวะดุลยภาพว่า ราคาดุลยภาพ และปริมาณสินค้าที่ภาวะนี้ว่า ปริมาณดุลยภาพ หากปริมาณอุปสงค์มากกว่าปริมาณอุปทาน ซึ่งเกิดเมื่อราคาสินค้าต่ำกว่าราคาดุลยภาพของสินค้านั้น จะเกิดการขาดแคลนสินค้า หรือเรียกว่ามีอุปสงค์ส่วนเกิน ในขณะที่เมื่อปริมาณอุปทานมากกว่าปริมาณอุปสงค์ คือเมื่อราคาสินค้าสูงกว่าราคาดุลยภาพ จะเกิดสินค้าล้นตลาด หรืออุปทานส่วนเกิน โดยเมื่อเกิดกรณีเหล่านี้ ผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดจะตอบสนองจนกระทั่งตลาดเข้าสู่ดุลยภาพ

ในการแสดงด้วยแผนภูมิ ดุลยภาพคือจุดที่เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกัน
กฎอุปสงค์และกฎอุปทาน อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณสินค้า เมื่อปัจจัยอื่นๆ คงที่ หากปัจจัยอื่นเกิดความเปลี่ยนแปลง จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์หรืออุปทาน คือปริมาณอุปสงค์หรือปริมาณอุปทานจะมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงที่ทุกระดับราคา แสดงในแผนภูมิในลักษณะของการเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์หรืออุปทาน

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์สำคัญที่มักกล่าวถึงได้แก่ รายได้ ราคาของสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รสนิยม ความคาดหวัง จำนวนผู้ซื้อ ในขณะที่ปัจจัยที่กำหนดอุปทานมักกล่าวถึง ต้นทุนปัจจัยการผลิต เทคโนโลยี ความคาดหวัง และจำนวนผู้ขาย